วันอาทิตย์ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

วิธีใส่ power point ใน website

บางทีเราทำ power point ออนไลน์ เราก็สามารถนำไปใส่ใน blog ของเราที่สร้างไว้ได้ โดย มีวิธีใส่ power point ใน website ทำได้หลายวิธี ขอยกตัวอย่างที่ได้จาก classroom20.comสมัครเป็นสมาชิก http://www.authorstream.com/ แล้ว upload ข้อมูล powerpoint ลงใน website หลังจากจะได้ embed นำมา แปะไว้ที่ ning หรือ eblogger.com

วันพฤหัสบดีที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

Rss คืออะไร

RSS หรือ Really Simple Syndication คือรูปแบบไฟล์ของภาษา XML ใช้สำหรับการแบ่งปันหัวเรื่อง ข้อมูลบนเว็บระหว่างเว็บด้วยกัน หรือสำหรับดึงข่าวจากเว็บต่างๆ มาแสดงบนเว็บของคุณ ซึ่งแต่ก่อน อาจมีการสร้างหัวเรื่องของข่าวจากเว็บต้นแบบ จากนั้นนำลิงค์ไปติดที่หน้าเว็บของเรา การแก้ไขถ้าเว็บต้นแบบแก้ไข เว็บของเราจะต้องทำการแก้ไขตามด้วยนอกจากนี้สำหรับนักท่องเน็ตทั่วไป สามารถนำประโยชน์ของ RSS นี้ไปใช้งานได้ โดยไม่จำเป็นต้องเข้าไปในเว็บไซต์นั้นบ่อยๆ (ทั้งนี้เนื่องจากหลายๆ เว็บอาจมีการ udpate ข้อมูลที่ไม่พร้อมกัน) โดยสามารถติดตั้งโปรแกรม RSS Reader ใช้สำหรับดึงหัวข้อข่าวสารที่มีบริการ RSS มาไว้ในเครื่องของเรา และถ้ามีการ udpate จากเว็บนั้นๆ เราก็สามารถคลิกลิงค์ไปยังเว็บที่ให้บริการได้โดยตรง ทำให้ย่นเวลาในการเข้าไปดูเว็บต่างๆ มากมาย

สารสนเทศและระบบสารสนเทศ




• ข้อมูล
o ข้อมูลดิบที่มีความหมายในตัวมันเองโดยยังไม่ได้ก่อให้เกิดประโยชน์
• สารสนเทศ
o ข้อมูลดิบซึ่งได้ทำการเปลี่ยนให้อยู่ในรูปที่มีความหมายและเป็นประโยชน์ สารสนเทศและระบบสารสนเทศ ข้อมูลนำเข้า ประมวลผล สารสนเทศ ระบบสารสนเทศ
• กลุ่มขององค์ประกอบที่สัมพันธ์กันซึ่งรวบรวมประมวล จัดเก็บและเผยแพร่สารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ และการควบคุมในองค์กร ระบบสารสนเทศ
• ข้อมูลนำเข้า (Input)
o ข้อมูลที่จำเป็น เพื่อนำเข้าสู่ระบบ เพื่อจะทำให้เกิดการประมวลผลขึ้น
• การประมวลผล (Process)
o การเปลี่ยนรูปแบบข้อมูลให้อยู่ในรูปที่มีความหมาย
• ผลลัพธ์ (Output)
o สารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลไปให้แก่คนหรือกิจกรรมที่จะใช้
• ส่วนย้อนกลับ (Feedback)
o ส่วนที่ใช้ในการควบคุมการทำงานของการประมวลผลเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ระบบสารสนเทศ ข้อมูลนำเข้า ประมวลผล สารสนเทศ สภาพแวดล้อม ข้อมูลย้อนกลับ

ขั้นตอนการตัดสินใจ

ขั้นตอนของการตัดสินใจ
กำหนดปัญหานำทางเลือกไปใช้พัฒนาทางเลือก
เลือกทางเลือกระดับการบริหารในองค์กร
• ระดับปฏิบัติการ (Operation Management)
o ควบคุมการดำเนินการขององค์กรให้เป็นไปตามแผนกลยุทธ์ที่กำหนดไว้
• ระดับยุทธวิธี (Tactic Management)
o วางแผนและควบคุมการดำเนินการขององค์กรให้เป็นไปตามแผนกลยุทธ์ที่ผู้บริหารระดับสูงกำหนดไว้
• ระดับกลยุทธ์ (Strategic Mangement)
o กำหนดนโยบาย เป้าหมาย และทิศทางขององค์กรระดับการบริหารในองค์กรระดับปฏิบัติการระดับยุทธวิธีระดับกลยุทธ์ไม่กำหนดกำหนดระดับปฏิบัติการระดับยุทธวิธีระดับกลยุทธ์ภายนอกภายในประเภทของระบบสารสนเทศ
• ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing System : TPS)
• ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System : MIS)
• ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System : DSS)
• ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง (Executive Support System : ESS)
• ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพัฒนาระบบ
ระบบ คือ ?
• ระบบ หมายถึง การรวมกลุ่มของส่วนต่างๆ ซึ่ง
• ทำงานร่วมกัน เพื่อจุดมุ่งหมายเดียวกัน

ระบบคอมพิวเตอร์
ฮาร์ดแวร์
บุคลากร

Physical Model Analysis
ประเภทของระบบ
• ระบบเชิงกายภาพและระบบเชิงแนวคิด
• ระบบเปิดและระบบปิด

ระบบเชิงกายภาพและระบบเชิงแนวคิด
• ระบบเชิงกายภาพ (Physical System)
– ระบบที่ทำงานโดยใช้ทรัพยากรเชิงกายภาพ เป็นระบบที่สามารถมองเห็นได้
• ระบบเชิงแนวคิด (Conceptual System)
– ระบบซึ่งเกี่ยวกับหลักการหรือทฤษฎี ซึ่งระบบนี้จะอยู่
– ในรูปแบบของคำอธิบายถึงความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบ
– ต่างๆ ในระบบ

ระบบเปิดและระบบปิด
• ระบบเปิด (Open System)
ระบบที่มีความเกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อม ซึ่งระบบนี้จะมีปฏิกิริยาต่อสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป
• ระบบปิด (Closed System)
ระบบที่ไม่เกี่ยวพันกับสภาพแวดล้อม

ลักษณะของระบบ
• ระบบประกอบด้วยองค์ประกอบที่รวมตัวกัน ทำงานร่วมกัน เพื่อจุดมุ่งหมายอันเดียวกัน
• ระบบจะแยกออกจากสภาพแวดล้อมโดยขอบเขตบางอย่าง
• ระบบจะมีข้อมูลนำเข้าและมีผลลัพธ์

ลักษณะของระบบ
• ระบบอาจจะมีระบบย่อย (Sub-System)
• ระบบจะมีกลไกการควบคุม และการควบคุมจะอาศัยข้อมูลส่วนย้อนกลับ (Feedback)
• ระบบจะมีตัวเชื่อมประสาน (Interface) ซึ่งจะใช้ในการสื่อสารระหว่างระบบ 2 ระบบ

ขอบเขต (Boundary)
• เส้นแบ่งระหว่างภายในและภายนอกระบบ
สภาพแวดล้อม (Environment)
• สิ่งที่อยู่นอกขอบเขตของระบบ
ระบบย่อย (Subsystem)
• ระบบที่มีความสมบูรณ์ในตัวของมันเองเมื่อพิจารณาแยกเป็นส่วนๆ

ปัจจัยนำเข้า (Input)
• สิ่งที่นำเข้าจากสิ่งแวดล้อมเพื่อใช้บางสิ่งบางอย่าง
ผลลัพธ์ (Output)
• สิ่งที่สร้างขึ้นจากระบบแล้วส่งต่อไปยังสิ่งแวดล้อม
ตัวเชื่อมประสาน (Interface)
• จุดที่ระบบพบกับสิ่งแวดล้อม หรือจุดประสานระหว่างระบบย่อยด้วยกัน

ภาพรวมของระบบ

Subsystem
Subsystem
Subsystem
Terminator
BOUNDARY
Environment

ระบบธุรกิจ
ส่วนนำเข้า â วัตถุดิบ เครื่องจักร เงินทุน
ส่วนผลลัพธ์ â กำไร ผลิตผลจากการผลิต การตลาด
ระบบย่อย â ฝ่ายบุคคล ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายการตลาด ฝ่ายการเงิน ฝ่ายบริหาร